สรุปวิจัยวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน
ผู้วิจัย : ศศิพรรณ สําแดงเดช
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ความมุ่งหมายของวัจัย
1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพนฐานทางว ิทยาศาสตร ์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรม
การทดลองหลังการฟงนิทาน กอนและหลังการทดลอง
2. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวยที่ไดรับ
การจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน กอนและหลังการทดลอง
ความสําคญของการวิจัย
ผลของการศึกษาคนควาครั้งนี้จะเปนแนวทางใหกับครูและผูทเกี่่ยวของกับการศึกษา
ปฐมวัยได้ตระหนัก และเขาใจถึงความสําคัญในการสงเสริมทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยด้วยการทำกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน รวมทั้งเปนแนวทางในการทำกิจกรรมการ
ทดลองหลังการฟงนิทานใหมีความหมายและเกิดประโยชนตอการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ขอบเขตของการวิจัย
ประชากรที่ใชในการวิจัย
กลุมประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เปนเด็กชาย-หญิง อายุระหวาง 5-6 ปที่กําลัง
ศึกษาอยู่ชั้นอนุบาล 2 ภาคเรยนที่ 2 ปการศึกษา 2552 ของโรงเรียนวัดไทร (ถาวรพรหมานุกูล)
สํานักงานเขตจอมทอง สังกัดกรุงเทพมหานครจํานวน 5 หองเรียน จํานวน 175 คน
กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เปนเด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุระหวาง 5-6 ป
ที่กําลังศึกษา อยูชั้นอนุบาลปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 โรงเรียนวัดไทร (ถาวรพรหมานุกูล)
สํานักงานเขตจอมทอง สังกัดกรุงเทพมหานคร จํานวน 30 คน โดยผูวิจัยทําการทดสอบเด็กดวย
แบบทดสอบทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ที่ผูวิจัยสรางขึ้น เพื่อคัดเลือกเด็กปฐมวัยจานวน 15 คน
ที่มีคะแนนทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร 15 อันดับสุดทาย กําหนดเปนกลุมทดลอง
ตัวแปรที่ศึกษา
1. ตัวแปรตน ไดแก การไดรับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน
2. ตัวแปรตาม ไดแก ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร
สมมติฐานของการศึกษาคนควา
เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทานมีทักษะพื้นฐานทาง
วิทยาศาสตร์สูงขึ้นกวากอนการทดลอง
วิธีการดําเนนการทดลอง
การวิจัยครั้งนี้ดำเนินการทดลองในภาคเรียนที่2 ปการศึกษา 2552 ทําการทดลองเปนเวลา 8
สัปดาห สัปดาหละ 3 วัน วันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที ทําการทดลองในชวงเวลา 08.30 – 09.00 น.รวม 24 ครั้ง มีลําดับขั้นตอนดังนี้
สัปดาห สัปดาหละ 3 วัน วันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที ทําการทดลองในชวงเวลา 08.30 – 09.00 น.รวม 24 ครั้ง มีลําดับขั้นตอนดังนี้
1.ผูวิจัยใชคะแนนการทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยใน
ขั้นตอนการเลือก ตัวอยางเป็นคะแนนก่อนการทดลอง
2.ผูวิจัยดําเนินการทดลองดวยตนเองโดยทดลองสัปดาหละ 3 วัน วันละ 30 นาที
ในชวงเวลา 08.30 – 09.00 น. ของวันจันทรวันอังคาร วันพุธ จนสิ้นสุดการทดลอง โดยระหวางที่ผูวิจัย
ดําเนินการทดลองกับเด็กกลุมตัวอยางเด็กที่ไมใชกลุมตัวอยางอยูในความดูแลของครูผูชวยสอน
3.เมื่อดําเนินการทดลองไปจนครบ 8 สัปดาหผูวิจัยทําการทดสอบหลังการทดลอง กับเด็กกลุม ตัวอย่างดวยแบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรชุดเดียวกับกอนการทดลอง
4.นําขอมูลที่ไดจากการทดสอบไปทําการวิเคราะห์ข้อมูลทางสิถติ
เครื่องมือที่ใชในการศึกษาวิจัย
1. แผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน
2. แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรมีความเชื่อมั่น .66
สรุปผลการวิจัย
1. เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทานมีทักษะพื้นฐานทางวิทยศาสตร์อยางมีนัยสําคัญที่ .01 และพบวาทักษะดานการสังเกต การจําแนก และการสื่อสาร สูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญที่ .01
2. กอนการทดลองการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน โดยรวมและรายด้าน คือ ดาน
การสังเกต ดานการจําแนก และดานการสื่อสาร อยูในระดับพอใชหลังการจัดกิจกรรมหลังการฟงนิทาน
โดยรวมอยูในระดับดีและรายดานคือ ดานการสังเกตอยูในระดับดีมาก ดานการจําแนกและการสื่อสารอยู่ใน ระดับดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น